คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
รายงานโครงสร้างหลักสูตร
แผน/แบบการศึกษา : แผน ก แบบ ก 2
ชื่อหลักสูตร : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science
ชื่อเต็มปริญญา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science
ชื่อย่อปริญญา : ร.ม.
M.Pol.Sc.
- คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ หรือปริญญาตรีสาขาวิชาอื่น หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยให้การรับรอง
- มีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50
- ผู้ที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับเป็นนักศึกษาได้โดยพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี
- มีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ไม่เป็นโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- หมายเหตุ
- ในกรณีที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาทางรัฐศาสตร์เพิ่มเติม ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- ผู้เข้าศึกษาจะต้องยื่นคะแนนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่คณะสังคมศาสตร์กำหนดก่อนสำเร็จการศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
โครงสร้างของหลักสูตร
ก. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน 2 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต)
ข. หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน 1 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต)
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 9 รายวิชา (27 หน่วยกิต)
ง. หมวดวิชาเลือก 1 รายวิชา (3 หน่วยกิต)
จ. วิทยานิพนธ์ (12 หน่วยกิต)
รายละเอียดของหลักสูตร
ก. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน 2 รายวิชา
SO 41001 หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
SO 41002 หลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย
ข. หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน 1 รายวิชา
SO 41103 ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
- รายวิชาบังคับ 3 รายวิชา
- SO 41204 รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก
- SO 41205 ทฤษฎีและการปฏิบัติกรรมฐาน
- SO 41206 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์
- รายวิชาเอก 6 รายวิชา
- SO 41207 สัมมนาปัญหาการเมืองการจัดการปกครองไทย
- SO 41208 แนวคิด ทฤษฎีการเมืองและสังคม
- SO 41209 การเมืองกับกระบวนการนโยบายสาธารณะ
- SO 41210 คุณธรรมจริยธรรมทางรัฐศาสตร์
- SO 41211 การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
- SO 41212 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย
ง. หมวดวิชาเลือก
เลือกเรียน 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
SO 41313 | การเมืองและการปกครองท้องถิ่นไทย |
SO 41314 | พุทธศาสนากับวิถีทางการเมืองประชาธิปไตย |
SO 41315 | สหวิทยาการทางรัฐศาสตร์ |
SO 41316 | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับกระแสโลกาภิวัตน์ |
SO 41318 | การเมืองและจัดการการปกครองในกลุ่มประเทศอาเซียน |
SO 41319 | สัมมนาภาวะผู้นำทางการเมืองในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ |
SO 41320 | รูปแบบและระบบการปกครอง 12 นักษัตร |
SO 41321 | สัมมนาความคิดทางการเมืองและการปกครองของไทย |
SO 41322 | สังคมวิทยาการเมือง |
SO 41323 | การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม |
SO 41324 | กฎหมายการปกครอง |
SO 41325 | การพัฒนาการเมืองระบอบประชาธิปไตยในรัฐราชการ |
SO 41326 | บทบาทของชนชั้นนำทางการเมืองในประเทศกำลังพัฒนา |
SO 41327 | พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย |
จ. วิทยานิพนธ์ 1 รายวิชา
- หมายเหตุ
- นักศึกษาจะต้องเข้ารับการอบรมกรรมฐานวิปัสสนาตามที่หลักสูตรกำหนดจึงจะถือว่าสำเร็จการศึกษา
- นักศึกษาทั้งแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข ต้องสอบผ่านวิชา SO 41103 ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา ในระดับคะแนน S (Satisfactory)
- นักศึกษาผู้ที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านรัฐศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาเสริมพื้นฐานโดยไม่นับหน่วยกิตเพิ่มเติม จำนวน 2 รายวิชา ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรดังนี้
- SO 41001 ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (3) (3-0-6)
- SO 41002 หลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย (3) (3-0-6)
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
รายงานโครงสร้างหลักสูตร
แผน/แบบการศึกษา : แผน ข
ชื่อหลักสูตร : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science
ชื่อเต็มปริญญา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Political Science
ชื่อย่อปริญญา : ร.ม.
M.Pol.Sc.
- คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ หรือปริญญาตรีสาขาวิชาอื่น หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยให้การรับรอง
- มีเกรดเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 2.50
- ผู้ที่ได้เกรดเฉลี่ยไม่ถึงเกณฑ์ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณารับเป็นนักศึกษาได้โดยพิจารณาจากประสบการณ์การทำงานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี
- มีความประพฤติดี ไม่มีประวัติในทางเสียหาย ไม่เป็นโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
- หมายเหตุ
- ในกรณีที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ต้องมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- สำหรับผู้ที่ไม่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาทางรัฐศาสตร์เพิ่มเติม ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด
- ผู้เข้าศึกษาจะต้องยื่นคะแนนภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่คณะสังคมศาสตร์กำหนดก่อนสำเร็จการศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
โครงสร้างของหลักสูตร
ก. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน 2 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต)
ข. หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน 1 รายวิชา (ไม่นับหน่วยกิต)
ค. หมวดวิชาเฉพาะ 9 รายวิชา (27 หน่วยกิต)
ง. หมวดวิชาเลือก 3 รายวิชา (9 หน่วยกิต)
จ. สารนิพนธ์ (6 หน่วยกิต)
รายละเอียดของหลักสูตร
ก. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน 2 รายวิชา
SO 41001 หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
SO 41002 หลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย
ข. หมวดวิชาบังคับพื้นฐาน 1 รายวิชา
SO 41103 ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
ค. หมวดวิชาเฉพาะ
- รายวิชาบังคับ 3 รายวิชา
- SO 41204 รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก
- SO 41205 ทฤษฎีและการปฏิบัติกรรมฐาน
- SO 41206 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์
- รายวิชาเอก 6 รายวิชา
- SO 41207 สัมมนาปัญหาการเมืองการจัดการปกครองไทย
- SO 41208 แนวคิด ทฤษฎีการเมืองและสังคม
- SO 41209 การเมืองกับกระบวนการนโยบายสาธารณะ
- SO 41210 คุณธรรมจริยธรรมทางรัฐศาสตร์
- SO 41211 การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
- SO 41212 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย
ง. หมวดวิชาเลือก
เลือกเรียน 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
SO 41313 | การเมืองและการปกครองท้องถิ่นไทย |
SO 41314 | พุทธศาสนากับวิถีทางการเมืองประชาธิปไตย |
SO 41315 | สหวิทยาการทางรัฐศาสตร์ |
SO 41316 | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับกระแสโลกาภิวัตน์ |
SO 41318 | การเมืองและจัดการการปกครองในกลุ่มประเทศอาเซียน |
SO 41319 | สัมมนาภาวะผู้นำทางการเมืองในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ |
SO 41320 | รูปแบบและระบบการปกครอง 12 นักษัตร |
SO 41321 | สัมมนาความคิดทางการเมืองและการปกครองของไทย |
SO 41322 | สังคมวิทยาการเมือง |
SO 41323 | การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม |
SO 41324 | กฎหมายการปกครอง |
SO 41325 | การพัฒนาการเมืองระบอบประชาธิปไตยในรัฐราชการ |
SO 41326 | บทบาทของชนชั้นนำทางการเมืองในประเทศกำลังพัฒนา |
SO 41327 | พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย |
จ. วิทยานิพนธ์ 1 รายวิชา
- หมายเหตุ
- นักศึกษาจะต้องเข้ารับการอบรมกรรมฐานวิปัสสนาตามที่หลักสูตรกำหนดจึงจะถือว่าสำเร็จการศึกษา
- นักศึกษาทั้งแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข ต้องสอบผ่านวิชา SO 41103 ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา ในระดับคะแนน S (Satisfactory)
- นักศึกษาผู้ที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านรัฐศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาเสริมพื้นฐานโดยไม่นับหน่วยกิตเพิ่มเติม จำนวน 2 รายวิชา ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรดังนี้
- SO 41001 ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (3) (3-0-6)
- SO 41002 หลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย (3) (3-0-6)